คนไข้เชื่อหมอ หรือ Google มากกว่ากัน ?

Posted on

คนไข้จะตัดสินใจอย่างไร ถ้าผลการตรวจและการวินิจฉัยโรคของหมอ นั้นไม่ตรงกับที่คุณ Search จาก Google ? คนไข้เชื่อหมอ  หรือ เชื่อ Google มากกว่ากัน ? ในยุค 4.0 เราจะมีพฤติกรรมที่จะใช้ Google เป็นแหล่งสืบข้อมูลแรก ก่อนที่จะถามเพื่อน ถามญาติ หรือ หาข้อมูลจากหนังสือ เพราะข้อมูลถูกสืบค้นได้แบบ realtime เพียงยก Smartphone ขึ้นมาปัดเท่านั้นเอง ถือว่าสะดวกและง่ายมากๆ ทุกวันนี้สินค้าและบริการถูกเปรียบเทียบ วิจารณ์ และ

รู้ทัน มิจฉาชีพ : ข้อคิดก่อนการร่วมลงทุนกับใคร

Posted on

ช่วงนี้มีข่าวของคุณหมอกลุ่มหนึ่งซึ่งอ้างว่าตกเป็นเหยื่อของคนในวิชาชีพเดียวกัน ที่ชวนมาร่วมลงทุนเปิดคลินิกทันตกรรม ผลที่ตามมาคือสูญเงินเป็นหลักล้าน และต่างฝ่ายต่างว่าจ้างทนายมาดำเนินคดี   ตามกฎหมาย ณ ตอนนี้ยังไม่สามารถฟันธงว่าในท้ายที่สุดใครจะเป็นฝ่ายถูก หรือผิด เพราะต้องรอคำพิพากษาของศาล แต่บรรยากาศของคุณหมอหลายๆท่านในวงการต่างก็เกิดความหวาดกลัวว่าอนาคตอาจเกิดกรณีที่คล้ายคลึง คือ มิจฉาชีพ มาหลอกลวงและเกิดกับตน 1.สมมุติว่าเรา ถูกชักชวนโดย มิจฉาชีพ เราจะมีข้อสังเกตอย่างไร เพื่อจะได้รู้ทันและปฎิเสธ 2.มิจฉาชีพ เขาใช้จิตวิทยา หรือ ลูกเล่นอะไร ที่จะเล่นกลหรือร่ายมนต์ เพื่อให้เราเชื่อ   เท่าที่ผม (หมอมด) ทำงานกับคลินิกต่างๆมา ผมพบว่ามีเหตุการณ์ประเภทเดียวกันนี้เกิดขึ้นบ่อย

คลินิกทันตกรรมเอกชน จับมือกับภาครัฐ กับการศึกษาความเป็นไปได้ในการร่วมจัดบริการผู้ป่วยกลุ่มบัตรทอง โดยคลินิกเอกชน

Posted on

คลินิกทันตกรรมเอกชน จับมือกับภาครัฐ การศึกษาความเป็นไปได้ในการเข้าถึงสุขภาพช่องปากที่ดีอย่างถ้วนหน้า : เก็บตกจากการประชุมร่วมกับเครือข่ายเพื่อศึกษาการลดความเหลื่อมล้ำด้านสุขภาพช่องปาก ในวันที่ 12 มกราคม 2561 ผมได้รับเชิญจาก เครือข่ายเพื่อศึกษาการลดความเหลื่อมล้ำด้านสุขภาพช่องปาก เพื่อช่วยออกความเห็นในแง่มุมของความเป็นไปได้ ปัจจัย และแนวทางการให้ความร่วมมือของหมอฟันในภาคของคลินิกทันตกรรมเอกชน ในโปรเจ็ค PPP   แปลว่าถ้าโครงการนี้ได้ก่อตั้งสำเร็จ คลินิกทันตกรรมเอกชน จะสามารถมีส่วนร่วมในการให้บริการคนไข้ที่มาใช้สิทธิ UC (ประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ได้   ก่อนที่จะมาเล่ารายละเอียดของโครงการนี้ ขอเกริ่นที่มาก่อนสักเล็กน้อย   โปรเจ็ค PPP นี้คืออะไร ?